รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด38
ชื่อเครื่องมือวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
งานวิจัยอ้างอิง0ไม่มีข้อมูล
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
หมายเลขเรียกหนังสือ2021
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แบบวัดของ บุญรับ ศักดิ์มณี (2532)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อพัฒนาเครื่องมือ
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตร 6 หน่วย จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลยเชิงบวก 6 5 4 3 2 1เชิงลบ 1 2 3 4 5 6
คุณภาพของเครื่องมือวัด
ความยาก วิธีการและพิสัย
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยไม่ได้ทำใหม่ในงานวิจัยนี้จากงานวิจัยของ บุญรับ ศักดิ์มณี (2532) t 2.75-7.45 สปส
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับผู้ที่ได้คะแนนต่ำ เป็นผู้ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่ำ
ความเชื่อมั่นสปส
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างครูประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพฯ ที่อยู่ในสายงานผู้ปฏิบัติการสอนจากสำนักงานเขตต่างๆ 36 สำนักเขต แบ่งเป็น 1. ในเขตเมืองมีโรงเรียนขนาด 6 โรงเรียนกลาง 7 โรงเรียน เล็ก 5 โรงเรียน 2. ในเขตชานเมืองมีโรงเรียนขนาดใหญ่ 6 โรงเรียนกลาง 9 โรงเรียน เล็ก 21 โรงเรียน รวาม 5
เวลาในการใช้เครื่องมือ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ หมายถึง ปริมาณการเพียรพยายามของครูผู้ตอบที่จะพัฒนาตนเอง และงานของตนให้ประสบผลสำเร็จ โดยไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค และความล้มเหลว รู้สึกกำหนดเป้าหมายให้เหมาะกับความสามารถของตน อดทนทำงานที่ยากได้เป็นเวลานาน และมุ่งแสวงหาความรู้สิ่งใหม่ ๆ มาใช้แก้ปัญหาในการทำงานอยู่เสมอตลอดจนชอบเลือกเพื่อนร่วมงานที่มีความสามารถเป็นอันดับแรก มี 20 ข้อ ผู้ที่ได้คะแนนรวมสูง เป็นผู้ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูงผู้ที่ได้คะแนนต่ำ เป็นผู้ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ต่ำ ในกรณีที่ต้องแบ่งผู้ตอบออกเป็นผู้ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูงและต่ำจะใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มรวมเป็นเกณฑ์แบ่ง
ตัวอย่างเครื่องมือวัด(0) ข้าพเจ้าสามารถทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งได้ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยไม่เบื่อหน่ายจริงที่สุด ถึง ไม่จริงเลย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]