รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด376
ชื่อเครื่องมือวัดความผูกพันต่อวิชาชีพยาบาล
งานวิจัยอ้างอิงปัจจัยที่มีอิทธพลต่อความตั้งใจที่จะลาออกจากงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาล สังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ วท.ด. (สาขาวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) . กรุงเทพฯ : ม
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลาง มศว.
หมายเลขเรียกหนังสือ158.7 จ327 ป
คำสำคัญความผูกพันในอาชีพ วิชาชีพพยาบาล
ที่มาของเครื่องมือวัด แปลและปรับปรุงมาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แบบสอบถามความผูกพันต่อองค์กรของ Mowdag , Steer and Porter (1979)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนเป็นมาตรวัดประเมินค่า 7 ระดับ จาก ไม่เห็นด้วยมากที
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มทดลองใช้เครื่องมือ เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิเคราะห์ Item total correlation ค่าอำนาจจำแนกอยู่ในช่วง 0.44 ถึง 0.88
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบ content validity โดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 6 ท่าน
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟา ได้ค่าดัชนีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ = 0.92
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างพยาบาลวิชาชีพที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 1-10 ปี ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ วิทยาลัย แพทย์ศาสตร์วชิรพยาบาล, รพ. กลาง ,ตากสิน , เจริญกรุงประชารักษ์จำนวน 530 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุไว้ในปริญญานิพนธ์
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดวัดความผูกพันต่อวิชาชีพพยาบาล ซึ่งหมายถึง ทัศนคติของพยาบาลวิชาชีพ ที่มีต่อวิชาชีพการพยาบาลและเป็นพฤติกรรม ที่แสดงออกมาเพื่อการรักษาควมเป็นสมาชิกของวิชาชีพไว้โดยวัดจาก ก. ความเชื่อถือและการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมของวิชาชีพ ข. ความเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยาบามอย่างมากที่จะปฏิบีติงานเพื่อวิชาชีพ ค. ความต้องการที่จะรักษาความเป็นสมาชิกของวิชาชีพ
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. วิชาชีพพยาบาลเป็นวิชาชีพที่ดีที่สุดที่ฉันจะเลือกประกอบอาชีพ 2. ฉันภูมิใจที่จะบอกกับทุกคนว่าฉันเป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีพพยาบาล 3. ฉันดีใจที่เลือกประกอบวิชาชีพพยาบาล 4. ฉันรู้สึกรักวิชาชีพพยาบาลมาก 5. ฉันจะบอกกับทุกคนว่าการเป็นพยาบาลเป็นวิชาชีพที่ดีที่สุด ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ค่อนข้าง ไม่แน่ใจ ค่อนข้าง เห็นด้วย เห็นด้วย มากที่สุด มาก ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย มาก มากที่สุด 1 2 3 4 5 6 7
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]