รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด367
ชื่อเครื่องมือวัดบรรยากาศการวิจัย
งานวิจัยอ้างอิงการศึกษาตัวแปรที่ส่งผลต่อการมุ่งวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการของอาจารย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ปริญญานิพนธ์ วท.ด. (วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) . กรุงเทพฯ : มศว.
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลาง มศว.
หมายเลขเรียกหนังสือ378.11 ว 619 ก
คำสำคัญบรรยากาศการวิจัย การวิจัย บรรยากาศ
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด ตามแนวคิดของสมใจ จิตพิทักษ์ (2532) และ Volkwein and Carbone (1994)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนเป็นมาตราส่วนประเมินค่า 7 ระดับ ตั้งแต่ต่ำมาก (ให้
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มทดลองใช้เครื่องมือ เป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จำนวน 40 ท่าน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิเคราะห์ Item total correlation ค่าอำนาจจำแนกอยู่ในช่วง 0.563 ถึง 0.777
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบ content validity โดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟา ได้ค่าดัชนีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ = 0.87
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างอาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่เคยปฏิบัติภารกิจเกี่ยวกับการวิจัย มีรายชื่อปรากฎในระเบียนประวัตินักวิจัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 จำนวนนทั้งหมด1,011 คน 13 คณะ และ 1 สำนัก
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุไว้ในปริญญานิพนธ์
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดต้องการวัดตัวแปรสถานการณ์หรือตัวแปรสิ่งแวดล้อมของการทำงานวิจัยของผู้ทำวิจัย ในที่นี้หมายถึง การสะท้อนถึงความ รู้สึกถึงคุณลักษณะของสภาพแวดล้อมในคณะ และมหาวิทยาลัยที่มีผลกระทบต่อการทำงานวิจัยของอาจารย์เป็นสถานการณ์ โดยรวมที่เชื่อมโยงระหว่างกฎเกณฑ์การทงาน โครงสร้างภายในองค์การกับพฤติกรรมของบุคคล ประกอบด้วยการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว่างนักวิจัย การประสานความเข้าใจในหมู่นักวิจัย การยื่นขอทุนวิจัยและความกระตือรือร้นของบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในมหาวิทยาลัย
ตัวอย่างเครื่องมือวัด ต่ำมาก สูงมาก 1. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิจัยในคณะ 1 2 3 4 5 6 7 2. การเสนอขอทุนวิจัยตามแผนแม่บทของคณะ/มหาวิทยาลัย 3. การแจ้งข่าวสารและการประชุมด้านงานวิจัย 4. ความกระตือรือร้นของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาในการฝึกวิจัย 5. การวิจัยร่วมระหว่างภาควิชา/คณะหรือหน่วยงานอื่น 6. การส่งเสริมจากนักวิจัยอาวุโสของคณะ/มหาวิทยาลัย 7. การนำผลการวิจัยไปใช้สอนในภาควิชาและคณะ 8. ส่งเสริมการวิจัย ที่ใช้ระบบผู้ช่วยวิจัย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]