รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด363
ชื่อเครื่องมือวัดการใช้ทักษะกระบวนการทางสังคมในการวิจัย
งานวิจัยอ้างอิงการศึกษาตัวแปรที่ส่งผลต่อการมุ่งวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการของอาจารย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ปริญญานิพนธ์ วท.ด. (วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) . กรุงเทพฯ : มศว.
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลาง มศว.
หมายเลขเรียกหนังสือ378.11ว619 ก
คำสำคัญการรับรู้ความสามารถของตน การวิจัย
ที่มาของเครื่องมือวัด แปลและปรับปรุงมาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด Social process skill self-efficacy scale ของ Vasil (1996)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนเป็นมาตราส่วนประเมินค่า 7 ระดับ ตั้งแต่ ยากที่สุด
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มทดลองใช้เครื่องมือ เป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จำนวน 40 ท่าน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยตรวจสอบค่าอำนาจจำแนกรายข้อด้วยค่าความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.517 ถึง 0.756
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบ content validity โดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน
ความเชื่อมั่นหาค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับโดยค่าสัมประสิทธิ์อัลฟา ได้ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ = 0.83
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างอาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่เคยปฏิบัติภารกิจเกี่ยวกับการวิจัยและมีรายชื่อปรากฎอยู่ในทะเบียนประวัตินักวิจัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 จำนวนทั้งหมด 1,011 คน 13 คณะ และ 1 สำนัก
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุไว้ในปริญญานิพนธ์
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดการใช้ทักษะกระบวนการทางสังคมในการวิจัย หมายถึง ระดับความเชื่อมั่นในตนเองของบุคคลว่ามีความสามารถที่จะทำ-งาน วิจัยได้ประสบผลสำเร็จ เป็นคุณลักษณะที่ก่อตัวขึ้นจากประสบการณ์ทางสังคม แบ่งเป็นทักษะย่อย 4 ด้าน คือ ทักษะในการ สื่อสาร ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ทักษะการจัดการ ทักษะสำนักงาน
ตัวอย่างเครื่องมือวัด ยากที่สุด ง่ายที่สุด 1. พูดในที่ประชุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 2 3 4 5 6 7 2. การสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน 3. การแสดงบทบาทผู้นำ 4. การทำหน้าที่ประธานการประชุม 5. การประเมินผลการทำงานของผู้อื่น 6. การบริหารเวลา 7. การใช้ภาษาอังกฤษ 8. การใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล 9. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยประมวลผลการวิจัย 10. การเขียนบทความ/เอกสารวิชาการ ยากที่สุด ง่ายที่สุด 1. พูดในที่ประชุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 2 3 4 5 6 7 2. การสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน 3. การแสดงบทบาทผู้นำ 4. การทำหน้าที่ประธานการประชุม 5. การประเมินผลการทำงานของผู้อื่น 6. การบริหารเวลา 7. การใช้ภาษาอังกฤษ 8. การใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล 9. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยประมวลผลการวิจัย 10. การเขียนบทความ/เอกสารวิชาการ
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]