รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด354
ชื่อเครื่องมือวัดปฏิสังสรรค์เชิงถ่ายทอดทางวิชาชีพกับบุคลากรในทีมสุ
งานวิจัยอ้างอิงลักษณะทางจิตสังคม และลักษณะทางพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการให้การ พยาบาลตามบทบาทเชิงวิชาชีพ. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. . กรุงเทพฯ : มศว.
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลาง
หมายเลขเรียกหนังสือ610. 730699 ก 128 ล
คำสำคัญปฏิสังสรรค์ การถ่ายทอดทางวิชาชีพ บุคลากร สุขภาพ
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด ตามนิยามปฏิบัติการ
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนเป็นมาตราส่วนประเมินค่า 6 ระดับ ตั้งแต่ จริงที่สุ
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มทดลองใช้เครื่องมือ เป็นพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลฝ่ายกายของรัฐที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิเคราะห์ Item total correlation ค่าอำนาจจำแนกอยู่ในช่วง .4032 ถึง .6649
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบ content validity โดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟา ค่าดัชนีวความเชื่อมั่นทั้งฉบับ = .6692
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานประจำตึงอายุรกรรม ตึกศัลยกรรม โรงพยาบาลฝ่ายกาย สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มีเตียงตั้ง แต่ 60 เตียงขึ้นไป ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ปทุมธานี,ลพบุรี และนนทบุรี จำนวน 420 คน ตอบรับ 348 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุไว้ในปริญญานิพนธํ์
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดวัดลักษณะทางจิตสังคม ได้แก่ ปฏิสังสรรค์เชิงถ่ายทอดทางวิชาชีพการพยาบาล ในที่นี้หมายถึง การับรู้การติดต่อสัมพันธ์กัน ระหว่างพยาบาลกับบุคลากรในทีมสุขภาพ ได้แก่ แพทย์ นักโภชนาการ เภสัชกร โดยผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การพูดคุย การประสานงานและการปฏิบัติงานร่วมกันในขอบเขตการปฏิบัติงานตามบทบาทของวิชาชีพ
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. การติดต่อประสานงานกับแพทย์ช่วยให้ฉันส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรักษาต่อ(REFER) สะดวกขึ้น 2. การปฏิบัติงานร่วมกับนักโภชนาการ ส่งเสริมให้ฉันดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารอย่างถูกต้อง ทั้งชนิดอาหาร และปริมาณที่เพียงพอ 3. การพูดคุยกับแพทย์ถึงปัญหาของผู้ป่วยหลังผ่าตัดหรือผู้ป่วยที่นอนในเตียนนาน ๆ ทำให้ฉันตระหนักถึงความสำคัญ ของการฝึกการไออย่างมีประสิทธิภาพ 4. จากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเภสัชกร(ห้องยา) ส่งเสริมให้ฉันให้ยาในวิถีทางและเวลาที่ยาจะออกฤทธิ์ดีที่สุด 5. การปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์ ส่งเสริมให้ฉันดูแลผู้ป่วยตามแผนการรักษาของแพทย์ 6. การปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์ ส่งเสริมให้ฉันแนะนำผู้ป่วยให้เห็นความสำคัญของการมีสุขอนามัยส่วนบุคคลที่ถูกต้อง 7. การติดต่อประสานงานกับแผนกโภชนาการ ส่งเสริมให้ฉันจัดอาหารตามที่ผู้ป่วยชอบและต้องการโดยไม่ขัดต่อสภาวะ โรคที่เขาเป็นอยู่ 8. การประสานงานกับแพทย์ ส่งเสริมให้ฉันกระตุ้นให้ผู้ป่วยที่นอนในเตียงนาน ๆ ได้ออกกำลังกายด้วยตัวเอง ------------ ------------ --------------- ------------- -------------- ---------------- จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]