รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด35
ชื่อเครื่องมือวัดสุขภาพจิต
งานวิจัยอ้างอิง0ไม่มีข้อมูล
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
หมายเลขเรียกหนังสือ2021
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แบบวัดของ จินตนา บัลมาศและคนอื่นๆ (2529)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อพัฒนาเครื่องมือ
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนน
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มที่คล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง
ความยาก วิธีการและพิสัย
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยไม่ได้ทำใหม่ในงานวิจัยนี้จากแบบวัด จินตนา บิลมาศ (2529) t 2.5-7.6จากแบบวัด บุญรับ ศักดิ์มณี (2532) นำแบบวัดของ จินตนา มาจาก Relia =.78
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับมี 20 ข้อ แบ่งเป็น 2 ตอน ตอน 1) เนื้อหาของข้อความจะแสดงให้
ความเชื่อมั่น
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างครูประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพฯที่อยู่ในสายงานผู้ปฏิบัติการสอนจากสำนักงานเขตต่างๆ36 สำนักเขต แบ่งเป็น 1. ในเขตเมืองมีโรงเรียน ขนาดใหญ่ 6 โรงเรียน กลาง 7 โรงเรียนเล็ก 5 โรงเรียน 2. ในเขตชานเมืองมีโรงเรียน ขนาดใหญ่ 6 โรงเรียน กลาง 9 โรงเรียนเล็ก 21 โรงเรียน รว
เวลาในการใช้เครื่องมือ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดสุขภาพจิต หมายถึง ระดับความวิตกกังวลของครูผู้ตอบ ซึ่งประกอบด้วยความกลัวในเรื่องต่างๆ โดยปราศจากเหตุผลอันสมควร การมีอารมณ์ที่รุนแรงขาดสมาธิ ขาดความกล้าหาญ กลัวผิด ขาดความอดทน มีความโกธรง่ายตื่นเต้นง่าย ตัวแปรนี้วัดได้โดยแบบวัดสุขภาพจิตของ จินตนา บิลมาศและคนอื่นๆ (2529) ที่ใช้วัดข้าราชการพลเรือนมี 20 ข้อ แบ่งเป็น 2 ตอน ตอน 1) เนื้อหาของข้อความจะแสดงให้เห็นถึงความรู้สึกของผู้ตอบเกี่ยวกับสภาพการทำงานที่เบี่ยงเบนไปจากปกติ เช่นหมดกำลังใจ รำคาญ มีความเครียด มีความวิตกกังวล หวุดหวิดตอน 2) ถามถึงความถี่ของการเกิดความรูสึกเช่นนั้นในตัวผู้ตอบ
ตัวอย่างเครื่องมือวัด(0) ข้าพเจ้าจะรู้สึกกลุ้มใจมากเพื่อผู้บริหารโรงเรียนไม่ยอมรับฟังความคิดของครูในโรงเรียนจริงที่สุด ถึง ไม่จริงเลย(00) ในปัจจุบันเหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นกับข้าพเจ้า
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]