รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด345
ชื่อเครื่องมือวัดความวิตกกังวล
งานวิจัยอ้างอิงรายงานการวิจัยฉบับที่ 64 การวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยว ข้องกับการตัดสินใจทางการศึกษา-อาชีพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัย
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว.
หมายเลขเรียกหนังสือISBN 974-596-956-7
คำสำคัญความวิตกกังวล
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด Leary ( 1983)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนเป็นมาตราส่วนประเมินค่า 4 ระดับ ตั้งแต่ บ่อยมาก จ
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มทดลองใช้เครื่องมือ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และ ปีที่ 6 โรงเรียนวัดราชาธิวาส จำนวน 100 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยไม่ได้ระบุไว้ในรายงานการวิจัย
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับไม่ได้ระบุไว้ในรายงานการวิจัย
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟา ได้ค่าดัชนีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ = .82
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพฯ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2538 จำนวน 1,167 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุไว้ในรายงานการวิจัย
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดวัดลักษณะของบุคคลในสถานการณ์ทั่วไป ที่แสดงออกในด้านอารมณ์ ความรู้สึก ในลักษณะที่แสดงความไม่สบายใจ เศร้าหมอง ตึงเครียด สับสน หรือแสดงออกในทางพฤติกรรม ในลักษณะที่ลังเล หลีกเลี่ยง และมีความยากลำบากในการปฏิบัติตนในสถาน การณ์ที่วิกฤต
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ข้าพเจ้ารู้สึกเหนื่อยเร็ว 2. ข้าพเจ้าอยากร้องไห้ 3. ข้าพเจ้าอยากมีความสุขเหมือนคนอื่น ๆ 4. ข้าพเจ้าทำพลาดบ่อย ๆ เพราะการตัดสินใจที่ล่าช้า 5. ข้าพเจ้ารู้สึกผ่อนคลายอารมณ์ 6. ข้าพเจ้ารู้สึกสงบใจเย็นเป็นตัวของตัวเอง 7. ข้าพเจ้ามีความสุข 8. ข้าพเจ้ามักคิดอะไรมากเป็นพิเศษ 9. ข้าพเจ้าขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง 10. ข้าพเจ้าเป็นคนเศร้าซึม ------------- ------------ ----------- ------------- บ่อยมาก บ่อยครั้ง นาน ๆ ครั้ง เกือบไม่มีเลย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]