รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด310
ชื่อเครื่องมือวัดความเชื่ออำนาจในตน
งานวิจัยอ้างอิงรายงานการวิจัยฉบับที่ 58 ลักษณะทางพุทธศาสนาและจิตสังคมของครูมัธยมศึกษาที่ เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดทางศาสนา. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว.
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญความเชื่ออำนาจในตน
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แบบวัดเหตุการณ์ในชีวิตการทำงานของข้าพเจ้า ของ ศักดิ์ชัย นิรัญทวี(2532)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนเป็นมาตราวัด 6 หน่วย จาก จริงที่สุด จนถึง ไม่จริงเ
คุณภาพของเครื่องมือวัดไม่ได้ระบุว่ากลุ่มทดลองใช้เครื่องมือเป็นใคร
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยไม่ได้ระบุวิธีการที่ใช้ และค่าอำนาจจำแนกของข้อคำถาม
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับไม่ได้ระบุวิธีการที่ใช้
ความเชื่อมั่นไม่ได้ระบุวิธีการที่ใช้ ระบุเพียงว่ามีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ = .93
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างอาจารย์โรงเรียนมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร ที่สอนภาคปลายปีการศึกษา 2538 (โรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษาและสัง กัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาเอกชน) สังกัดละ 5 โรงเรียน รวมเป็นกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 385 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุไว้ในรายงานการวิจัย
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดความเชื่ออำนาจในตน หมายถึง ความเชื่อที่ว่าสิ่งต่าง ๆที่เกิดขึ้นกับตนนั้นเกิดจากการกระทำของตนเชื่อว่าตนสามารถทำนายผล ที่เกิดขึ้นกับตนได้ และสามารถควบคุมผลนั้นได้ เป็นการคาดหวังว่าสิ่งต่าง ๆ ที่ตนได้รับเกิดจากการกระทำของตน
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ข้าพเจ้าไม่ทราบผลที่ข้าพเจ้าจะได้รับจากการที่ข้าพเจ้าช่วยรักษาผลประโยชน์ของหน่วยงานหรือทำชื่อเสียงให้หน่วยงาน 2. ข้าพเจ้ามีความตั้งใจและพยายามทำงานอย่างเต็มความสามารถ แต่ข้าพเจ้าไม่อาจบอกได้ว่าวิถชีวิตราชการของข้าพเจ้า จะเป็นอย่างไร 3. ขณะนี้ข้าพเจ้ารู้สึกว่าการทำงานราชการให้ผลไม่คุ้มค่า 4. ครูที่มาจากครอบครัวที่มีชาติตระกูลมักได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้นดำรงตำแหน่งสำคัญเสมอ ๆ 5. การเล่นพวกเล่นพ้องและระบบอุปถัมภ์มีอยู่มากในวงราชการที่ข้าพเจ้าเกี่ยวข้อง 6. บางครั้งข้าพเจ้าทำผิดเพียงเล็กน้อยแต่ถูกตำหนิจากผู้บังคับบัญชาอย่างรุนแรง 7. มีบ่อยครั้งที่ข้อเสนอแนะของคน ๆ หนึ่งมักเป็นที่ยอมรับของผู้บังคับบัญชาทั้ง ๆ ที่ข้าพเจ้ามองไม่เห็นความเหมาะสม 8. คนโปรดของเจ้านายมักไม่ถูกลงโทษอย่างรุนแรง ถึงแม้จะทำความผิดร้ายแรงอันมีผลเสียหายต่อราชการ ----------- -------- ----------------- ------------------ --------- -------------- จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]