รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด290
ชื่อเครื่องมือวัดความใกล้ชิดธรรมะ
งานวิจัยอ้างอิงตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุของพยาบาลในสังกัดกรม การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข . ปริญญานิพนธ์ วท.ม. . กรุงเทพฯ : มศว.
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลาง มศว.
หมายเลขเรียกหนังสือ610.7365 อ.253 ต ร.3
คำสำคัญความใกล้ชิดธรรมะ ธรรมะ
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด ตามคำนิยามปฏิบัติการ
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนn/a
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมี 2 ตัวเลือก คือ เคยกับไม่เคย ถ้าตอบไม่เคยให้ 0 ถ
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มทดลองใช้เครื่องมือ ระบุเพียงแต่ว่าเป็นกลุ่มที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิเคราะห์รายข้อ ด้วยเทคนิค 27 % ค่าอำนาจจำแนก t ไม่ได้นำเสนอไว้ในปริญญานิพนธ์
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบ content validity โดยผู้เชี่ยวชาญ
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค ดัชนีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ = .81
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างพยาบาลที่ทำหน้าที่พยาบาลประจำการซึ่งมีประสบการณ์ในการพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุ สังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จากโรงพยาบาล 3 แห่งและสถาบันเฉพาะโรค 1 แห่ง ได้แก่ รพ.ราชวิถี,รพ.เลิดสิน,รพ.นพรัตน์ธานีและสถาบันมะเร็งแห่งชาติ จำนวน 350 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุไว้ในปริญญานิพนธ์
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดวัดตัวแปรความใกล้ชิดธรรมะ ในที่นี้หมายถึง การเข้าไปใกล้ชิดกับหลักธรรมคำสอนทางพุทธศาสนาในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การฟังเทศน์ การสนทนาธรรม การอ่านหนังสือธรรมะ การฝึกอบรมทางศาสนา การฟังบรรยายธรรมะ
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ท่านอ่านหนังสือธรรมะบ่อยเพียงใด 2. ท่านฟังการบรรยายธรรมะมากน้อยเพียงใด 3. ท่านดูรายการธรรมะทางโทรทัศน์บ่อยเพียงใด 4. ท่านเคยไปฟังเทศน์ที่วัดบ่อยเพียงใด 5. ท่านมักจะสนทนาธรรมะกับคนรอบข้างบ่อยเพียงใด 6. ท่านเคยฟังรายการธรรมะทางวิทยุบ่อยเพียงใด 7. ท่านเคยอ่านคอลัมน์เกี่ยวกับธรรมะในนิตยสาร,วารสารหรือหนังสือพิมพ์บ่อยเพียงใด 8. ท่านมักจะใช้เวลาว่างในการไปสนทนาซักถามปัญหาธรรมะกับพระสงฆ์บ่อยเพียงใด 9. ท่านเคยฟังเทปธรรมะบ่อยเพียงใด 10. ท่านเคยเข้าชมรมพุทธศาสนาหรือไม่ ก.ไม่เคย ข. เคยเข้า โดยเข้าร่วมประชุมสัปดาห์ละ ______ ครั้งหรือ เดือนละ ______ ครั้ง
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]