รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด286
ชื่อเครื่องมือวัดการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม
งานวิจัยอ้างอิงตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุของพยาบาลในสังกัดกรม การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข . ปริญญานิพนธ์ วท.ม. . กรุงเทพฯ : มศว.
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลาง มศว.
หมายเลขเรียกหนังสือ610.7365 อ253 ต.ร.3
คำสำคัญการรับรู้ การสนับสนุน การสนับสนุนทางสังคม
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แบบวัดของ ศักดิ์ชัย นิรันดร์ทวี
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนเป็นมาตราส่วนประเมินค่า 6 หน่วย ไม่จริงเลย= 1 จนถ
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มทดลองใช้เครื่องมือ ระบุเพียงว่าเป็นกลุ่มที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิเคราะห์รายข้อ ด้วยเทคนิค 27 % ค่าอำนาจจำแนก t อยู่ในช่วง 4.97 ถึง 10.90
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบ content validity โดยผู้เชี่ยวชาญ
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค ได้ค่าดัชนีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ = .86
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างพยาบาลที่ทำหน้าที่พยาบาลประจำการ ซึ่งมีประสบการณ์ในการพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุ สังกัดกรมการแพทย์กระทรวงสาธาณสุข จากโรงพยาบาล 3 แห่ง และสถานบันเฉพาะโรค 1 แห่ง ได้แก่ รพ.ราชวิถี, รพ.เลิดสิน,รพ.นพรัตน์ธานีและสถาบันมะเร็งแห่ง ชาติ จำนวน 350 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุไว้ในปริญญานิพนธ์
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดวัดตัวแปรการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม ในที่นี้หมายถึง การรับรู้ถึงแหล่งบุคคลที่จะให้ความช่วยเหลือในด้านอารมณ์เป็น ลักษณะของการให้ความรัก ความเห็นใจ มีการเอื้ออาทร การยอมรับ เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม และการช่วยเหลือด้านอื่น ๆ ใน การทำงานรวมทั้งการให้ข้มูลข่าวสาร
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. หัวหน้าตึกฯ ได้ช่วยให้ข้อเสนอแนะแก่ท่านในการแก้ไขปัญหาในการทำงาน 2. ญาติและคนนอกวงงานจะให้การส่งเสริมสนับสนุนท่านในการทำงาน 3. เพื่อนพยาบาลมีความใกล้ชิดสนิทสนมกับท่าน 4. เพื่อนพยาบาลไม่ได้ปลอบโยนท่านเมื่อท่านมีความกลัดกลุ้มใจ 5. ญาติและคนนอกวงงานมีความรักใคร่สนิทสนมกับท่าน 6. เพื่อนพยาบาลจะไม่ได้ช่วยให้ท่านพ้นจากภาวะวิกฤติอย่างเต็มกำลังความสามารถของเขา 7. หัวหน้าตึกฯ ไม่สนับสนุนส่งเสริมท่านในการทำงาน 8. เพื่อนพยาบาลมักพูดคุยแลกเปลี่ยนข่าวสารความคิดเห็นกับท่าน 9. ญาติและคนนอกวงงานมักพูดคุยแลกเปลี่ยนข่าวสารความคิดเห็นกับท่าน 10. หัวหน้าตึก ฯ ไม่ได้พุดคุยแลกเปลี่ยนข่าวสารความคิดเห็นกับท่าน ---------- ------- ---------------- --------------- --------- -------------- จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]