รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด281
ชื่อเครื่องมือวัดการรับรู้ปทัสถานทางสังคม
งานวิจัยอ้างอิงตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับความตั้งใจในการเลือกประกอบอาชีพพยาบาลในสถานีอนามัย ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ระดับต้น วิทยาลัยพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. . กรุงเทพฯ: มศ
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลาง มศว.
หมายเลขเรียกหนังสือ610.73 ว 694 ต.ร.3
คำสำคัญการรับรู้ ปทัสถานทางสังคม บรรทัดฐาน
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด จากคำนิยามปฏิบัติการ
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนแบบสอบถามความเชื่อของบุคคลใกล้ชิดให้คะแนนโดยการประ
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มทดลองใช้เครื่องมือ เป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ระดับต้นชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ จำนวน 60 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิเคราะห์ รายข้อโดยแบ่งกลุ่มสูงกลุ่มต่ำ ร้อยละ 25 ค่าอำนาจจำแนก t อยุ่ในช่วง2.03 ถึง 7.78
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบ content validity โดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค ได้ค่าดัชนีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ = .88
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ ระดับต้น ปีที่ 2 ปีการศึกษา 2537 จำนวน 300 คน จากวิทยาลัยพยาบาลบรมราช ชนนี กระทรวงสาธารณสุข 7 แห่ง ในเขตภาคกลาง ได้แก่ วิทยาลัยพยาบาลกรุงเทพฯ , โรคทรวงอก,ราชบุรี1,ชัยนาท,สระบุรี พระพุทธบาทและพระจอมเกล้าฯ
เวลาในการใช้เครื่องมือเก็บแบบสอบถามหลังแจกแบบสอบถามแล้ว 1 สัปดาห์
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดวัดการรับรู้ปทัสถานทางสังคม ในที่นี้หมายถึง การรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ระดับต้นที่มีต่อผู้อื่นที่เขาให้ความสำคัญ โดยการรับรู้ว่าผู้ที่เขาอ้างอิงถึงนั้นคิดว่าเขาควรเลือกประกอบวิชาชีพยาบาลในสถานีอนามัยหรือไม่หลังจบการศึกษาในปี 2537 การวัดการรับรู้ปทัสถานทางสังคมวัดจากความเชื่อเกี่ยวกับความคิดเห็นที่มีต่อการกระทำของบุคคลใกล้ชิดหรือบุคคลที่มีความสำคัญต่อนักศึกษาพยาบาลและแรงจูงใจที่จะคล้อยตามบุคคลใกล้ชิด โดย ความเชื่อของบุคคลใกล้ชิด หมายถึง การรับรู้ความคาดหวังของกลุ่มบุคคลใกล้ชิด เช่นพ่อแม่ พี่น้อง ครู เพื่อน และคนอื่น ๆ ของนักศึกษาพยาบาลต่อการเลือกประกอบวิชาชีพพยาบาลในสถานีอนามัย แรงจูงใจที่คล้อยตามบุคคลใกล้ชิด หมายถึง ความรู้สึกคล้อยตามความคาดหวังของบุคคลใกล้ชิดของนักศึกษาพยาบาล ต่อการ เลือกประกอบวิชาชีพพยาบาลในสถานีอนามัย
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. พ่อ ของฉันคิดว่าฉันควรเลือกประกอบวิชาชีพพยาบาลในสถานีอนามัย 2. แม่ ของฉันคิดว่าฉันควรเลือกประกอบวิชาชีพพยาบาลในสถานีอนามัย 3. ญาติ ของฉันคิดว่าฉันควรเลือกประกอบวิชาชีพพยาบาลในสถานีอนามัย 4. อาจารย์ ของฉันคิดว่าฉีนควรเลือกประกอบวิชาชีพพยาบาลในสถานีอนามัย 5. คู่รัก ของฉันคิดว่าฉันควรเลือกประกอบวิชาชีพพยาบาลในสถานีอนามัย เป็นไปได้ ---------- -------------- ------------ --------------- -------------- ------------- เป็นไปไม่ได้ 1. โดยทั่วไปฉันต้องการทำตามในสิ่งที่ พ่อ ของฉันต้องการให้ฉันทำเพียงใด 2. โดยทั่วไปฉันต้องการทำตามในสิ่งที่ แม่ ของฉันต้องการให้ฉันทำเพียงใด 3. โดยทั่วไปฉันต้องการทำตามในสิ่งที่ พี่น้อง ของฉันต้องการให้ฉันทำเพียงใด 4. โดยทั่วไปฉันต้องการทำตามในสิ่งที่ ญาติ ของฉันต้องการให้ฉันทำเพียงใด 5. โโยทั่วไปฉันต้องการทำตามในสิ่งที่ เพื่อน ของฉันต้องการให้ฉันทำเพียงใด ต้องการมากที่สุด --------- ----------- ------------ ----------- ------------- ----------- ----------- ไม่ต้องการเลย 7 6 5 4 3 2 1
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]