รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด28
ชื่อเครื่องมือวัดความรู้ความเข้าใจพุทธศาสนา
งานวิจัยอ้างอิงerter
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด โดยอาศัยแนวของคณะผู้วิจัยความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนาใน
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อพัฒนาเครื่องมือ
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนn/a
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนน
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มพระศึกษา ที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาตรีคณะพุทธศาสนามหาวิทยาลัยจุฬา ฯ จำนวน 30 รูป และนำไปทดสอบกับกลุ่มนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ความยาก วิธีการและพิสัยความยาว p = .35 - .94
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัย
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับถือว่า เป็นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจในพุทธศาสนาสูงกว่านิสิตที่ได้
ความเชื่อมั่นKR -20,
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนิสิตปริญญาตรีที่กำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยของรัฐบาล ปี 2529มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจำนวน 650 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น
เวลาในการใช้เครื่องมือ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดความรู้ความเข้าใจในพุทธศาสนา หมายถึง ความรู้ความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับพุทธศาสนา สำหรับการวิจัยครั้งนี้ หมายถึง ความรู้ความเข้าใจในเรื่องความเชื่อกันเป็นหลักทางพุทธศาสนา ความรู้ความเข้าใจในหลักธรรม และความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตามหลักธรรม และประเพณีบางอย่างของพุทธศาสนา มี 30 ข้อ นิสิตที่ได้คะแนนสูงกว่าถือว่า เป็นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจในพุทธศาสนาสูงกว่านิสิตที่ได้คะแนนต่ำกว่า
ตัวอย่างเครื่องมือวัดตัวอย่าง ความรู้ความเข้าใจในเรื่องความเชื่อมั่นอันเป็นหลักทางพุทธศาสนา(0) ข้อความใดกล่าวถูกต้องตามหลักพุทธศาสนา ก. กรรมที่บุคคลก่อขึ้นไม่ว่า กรรมหนัก หรือกรรมยาว ไม่สามารถลบล้างได้ ข. กรรมบางอย่าง สามารถลบล้างได้ด้วยการปฏิบัติธรรม ค. กรรมทุกอย่างสามารถได้เฉพาะกรรมที่ทำในชาตินี้เท่านั้น จ. ไม่มีข้อใดถูก
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]