รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด27
ชื่อเครื่องมือวัดเจตคติต่อพุทธศาสนา
งานวิจัยอ้างอิง0ไม่มีข้อมูล
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด โดยอาศัยแนวการสร้างของคณะผู้วิจัยความมั่นคงแห่ง
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อพัฒนาเครื่องมือ
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตร 6 หน่วยเห็นด้วยอย่างยิ่ง ถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
คุณภาพของเครื่องมือวัดนิสิตปริญญาตรี
ความยาก วิธีการและพิสัย
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยเทคนิค 27 % t-testt 2.24-7.23
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับดีกว่านิสิตที่ได้คะแนนต่ำกว่า(Content Validity)
ความเชื่อมั่นสปส. (.987)
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนิสิตปริญญาตรีที่กำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยของรัฐบาล ปี 2529ยกเว้นมหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจำนวน 650 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น
เวลาในการใช้เครื่องมือ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดเจตคติต่อพุทธศาสนา หมายถึง ความรู้สึก ความเชื่อ หรือ ความคิดเห็นรวมทั้งแนวโน้มของการกระทำที่มีต่อเรื่องราวพุทธศาสนา สำหรับการวิจัยครั้งนี้หมายถึง เจตคติต่อความเชื่ออันเป็นหลักทางพุทธศาสนา เจตคติต่อหลักธรรมและเจตคติต่อการปฏิบัติความหลักธรรม และประเพณีบางอย่างของพุทธศาสนามี 30 ข้อ นิสิตที่ได้คะแนนสูงกว่าถือว่า เป็นผู้ที่มีเจตคติต่อพุทธศาสนาดีกว่านิสิตที่ได้คะแนนต่ำกว่ารายละเอียด - เรื่องการเวียนว่าย ตายเกิด 2 ข้อ กฏแห่งกรรม 2 ข้อเรื่องนรก-สวรรค์ 2 ข้อ - เรื่องบาป-คุณ 2 ข้อ เรื่องนิพพาน 2 ข้อ
ตัวอย่างเครื่องมือวัดเห็นด้วยอย่างยิ่ง ถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งเจตคติต่อความเชื่อ (0) คนที่ทำดี ย่อมได้รับผลดี คนทำชั่ว ย่อมได้รับผลชั่วเจตคติต่อหลักธรรม (00) คำกล่าวที่ว่า "ทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่เที่ยวแท้แน่นอนย่อมเปลี่ยนแปลงไป" ทำให้บุคคลไม่มีความมั่นใจในตนเองเจตคติหลักธรรมและ (000) การออกบิณฑบาตของพระสงฆ์ ถือว่าเป็นการโปรดสัตว์
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]