รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด269
ชื่อเครื่องมือวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
งานวิจัยอ้างอิงการถ่ายทอดทางสังคมในการทำงาน จิตลักษณ์ และการรับรู้ เกี่ยวกับบทบาทที่สัมพันธ์กับ พฤติกรรมการทำงานของบุคลากรสาธารณสุขระดับตำบลในภาคเหนือของประเทศไทย. ปริญญานิพนธ์. วท.ม. . กรุ
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลาง มศว.
หมายเลขเรียกหนังสือ610.7343 ว691 ก. ร.3
คำสำคัญแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของ บุญรับ ศักดิ์มณี(2532)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 6 หน่วย ตั้งแต่จริงที่สุดจน
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มทดลองใช้เครื่องมือ เป็นบุคลากรสาธารณสุขระดับตำบล ที่ปฏิบัติงานในเขตกระทรวงสาธารณสุขที่ 8,9,10 ที่มีลักษณะใกล้ เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิเคราะห์Item total correlation พิสัยค่าอำนาจจำแนก= .39 ถึง .58
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบ content validity โดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคโดยมีค่าดัชนีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ = .76
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างบุคลากรสาธารณสุข ระดับตำบลที่ปฏิบัติงานอยู่ในสถานีอนามัยไม่น้อยกว่า 6 เดือน ในพื้นที่ภาคเหนือประเทศไทย ในเขตการ ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต8 ,9,10
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้นำเสนอไว้ในปริญญานิพนธ์
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดตน อดทนทำงานที่ยากได้เป็นเวลานานและมุ่งแสวงหาความสื่อใหม่ ๆ มาใช้ในการแก้ปัญหาในการทำงานอยู่เสมอ ตลอดจน ชอบเลือกเพื่อนร่วมงานที่มีความสามารถเป็นอันดับแรก
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ข้าพเจ้าคิดว่าการเตรียมตัวอย่างเต็มที่เพื่อที่จะทำงานสำคัญ ๆ นั้นเป็นสิ่งจำเป็น 2. เมื่อยังเรียนหนังสืออยู่นั้น ข้าพเจ้าให้ความสนใจกับการเรียนมากอยู่เสมอ 3. เมื่อข้าพเจ้ายังไม่ประสบความสำเร็จในการทำงานใดข้าพเจ้าก็จะพยายามทำงานนั้นอีกจนกว่าจะสำเร็จ 4. ข้าพเจ้าไม่ชอบการทำงานที่ยากใด ๆ ทั้งสิ้น 5. ในการทำงานนั้น ข้าพเจ้าคิดว่าความพยายามเป็นสิ่งสำคัญ 6. เมื่อข้าพเจ้ายังเรียนหนังสืออยู่นั้น ข้าพเจ้าให้ความสนใจกับการทำการบ้านมาก 7. ข้าพเจ้าชอบทำงานที่ต้องใช้ความรับผิดชอบ ----------- ------- ------------------- -------------------- ------------ --------------- จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]