รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด249
ชื่อเครื่องมือวัดความสำเร็จในอาชีพ
งานวิจัยอ้างอิงลักษณะทางจิตสังคม และลักษณะทางพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการให้การ พยาบาลตามบทบาทเชิงวิชาชีพ. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. . กรุงเทพฯ : มศว.
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลาง มศว.
หมายเลขเรียกหนังสือ331.4816584 น.316 ป. ร.2
คำสำคัญความสำเร็จ อาชีพ
ที่มาของเครื่องมือวัด แปลและปรับปรุงมาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด เครื่องมือวัดความสำเร็จในอาชีพซึ่งพัฒนาขึ้นโดย Gettiker&Larwood.1986
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 7 ระดับ ตั้งแต่ จริงมากที่สุด
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มทดลองใช้เครื่องมือ เป็นผู้บริหารระดับกลางที่เป็นสตรี ในธนาคารพาณิชย์ไทยที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 110 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิเคราะห์โดยวิธี Item toral correlation แต่ละข้อมีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง .252 ถึง .687
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบconstruct validity โดยวิธี confirmatory factor analysis โดยค่าน้ำหนักองค์ประกอบด้านบทบาทการทำงาน.457ถึง.615 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล .692 ถึง .820 ด้านการเงิน.444 ถึง .975 ด้านการเลื่อนตำแหน่ง .263 ถึง .754
ความเชื่อมั่นใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของค
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างผู้บริหารสตรีที่เป็นผู้บริหารระดับกลางซึ่งได้ดำรงตำแหน่งมาแล้วอย่างน้อย 6 เดือนจากธนาคารพาณิชย์ไทย จำนวน 12 แห่ง ได้แก่ กรุงเทพ กสิกรไทย ไทยพาณิชย์ กรุงศรีอยุธยา ทหารไทย มหานคร นครหลวงไทย ศรีนคร เอเชีย นครธน สหธนาคาร แหลมทอง
เวลาในการใช้เครื่องมือ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดต้องการวัดตัวแปรความสำเร็จในอาชีพ ความสำเร็จในอาชีพ หมายถึง การรับรู้ของผู้บริหารสตรีเกี่ยวกับความสำเร็จ ความเจริญก้าวหน้า ในอาชีพที่ตนได้รับจาก ประสบการณ์ในการทำงานอาชีพ ซึ่งแบ่งความสำเร็จในอาชีพออกเป็น4ด้าน ได้แก่ ความสำเร็จด้านบทบาทการทำงาน ความสำเร็จ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความสำเร็จด้านการเงิน และความสำเร็จด้านความก้าวหน้าในการเลื่อนตำแหน่ง
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ผลการปฏิบัติงานของข้าพเจ้าได้รับการยอมรับจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องว่ามีคุณภาพ 2. ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบเต็มที่ในงานที่ทำ 3. เวลาทำงานเป็นเวลาที่ข้าพเจ้ามีความสุขมากที่สุด 4. ข้าพเจ้าชอบงานที่ทำอยู่ในปัจจุบัน 5. ข้าพเจ้าได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงานในระดับที่ดี 6. ข้าพเจ้าได้รับการยอมรับจากเพื่อนร่วมงาน 7. ข้าพเจ้าได้รับเงินเดือนอย่างเป็นธรรมเมื่อเทียบกับเพื่อนร่วมงาน 8. ข้าพเจ้าคิดว่าข้าพเจ้าได้รับค่าตอบแทนมากเพียงพอกับผลงานที่ข้าพเจ้าทำ 9. ข้าพเจ้าพึงพอใจกับตำแหน่งที่ได้รับอยู่ในปัจจุบัน 10. ข้าพเจ้าได้รับโอกาสในการเลื่อนตำแหน่งจากงานที่ทำอยู่ ระดับความคิดเห็น 7 6 5 4 3 2 1
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]