รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด230
ชื่อเครื่องมือวัดแบบวัดความพร้อมในด้านการเรียนของเด็กก่อนวัยเรียน
งานวิจัยอ้างอิง0ไม่มีข้อมูล
ที่เก็บงานวิจัย
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด จรรยา สุวรรณทัต และ วันเพ็ญ พิศาลพงศ์
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อพัฒนาเครื่องมือ
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนTest
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนเป็นประโยคข้อความ ที่ถามถึงความรู้ความสามารถของเด็กในด้านต่างๆ ประกอบกับแบบบันทึกคำตอบของผู้สัมภาษณ์ว่า "ถ" (ผู้ตอบตอบถูก), "ผ" (ผู้ตอบตอบผิด) "ม" (ผู้ตอบไม่ตอบ) ถ้าตอบถูได้ 1 คะแนน ถ้าตอบผิดหรือไม่ตอบๆได้ 0 คะแนน
คุณภาพของเครื่องมือวัด
ความยาก วิธีการและพิสัย
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัย
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับะตำแหน่งของสิ่งของและ 4) ด้านการรับรู้ประสาทสัมผัสและความสามารถในการเรียนแบบ จะทำการวัดควา
ความเชื่อมั่นใช้สูตรของ คูเดอร์-ริชาร์ดสัน สูตรที่ 20 (Kuder-Richaedson formula ,20 , Walter Dick and Nancy Hagerty , 1971 : 32 ) ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .9114
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างพ.1
เวลาในการใช้เครื่องมือ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดเป็นแบบวัดที่ใช้ในการวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการอบรมเลี้ยงดูกับพัฒนาการทางกายและจิตแบบวัดมีลักษณะเป็นประโยควัดความที่ถามถึงความรู้ความสามารถของเด็กในด้านต่างๆ ประกอบกับแบบบันทึกคำตอบของผู้สัมภาษณ์ว่า "ถ" หมายถึง ผู้ตอบถูก "ผ" หมายถึงผู้ตอบผิด และ "ม" หมายถึงผู้ไม่ตอบ ซึ่งแบ่งเป็นการวัดความพร้อมใน 4 ด้านคือ 1) ด้านความรู้ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม 2) ด้านความคล่องแคล่วทางภาษา การคิด และการแสดงออก 3) ด้านความรู้เกี่ยวกับจำนวนและตำแหน่งของสิ่งของและ 4) ด้านการรับรู้ประสาทสัมผัสและความสามารถในการเรียนแบบ จะทำการวัดความพร้อมของเด็กเป็นรายบุคคล
ตัวอย่างเครื่องมือวัด
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]