รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด165
ชื่อเครื่องมือวัดความสำนึกเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรร
งานวิจัยอ้างอิง0ไม่มีข้อมูล
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว ประสานมิตร
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อพัฒนาเครื่องมือ
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนMultiple Choice
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนน96 ข้อ ฉบับเดียว แบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบในสถานการณ์ทั่ว ๆ ไปและแบบสถานการณ์เฉพาะ 4 ตัวเลือก ถ้าตอบคำตอบซึ่งแสดงว่ามีความสำนึกในการเปลี่ยนแปลงได้ 1 คะแนน ถ้าตอบคำตอบซึ่งแสดงว่าไม่มีความสำนึกในการเปลี่ยนแปลง ได้ 0 คะแนน
คุณภาพของเครื่องมือวัด1.บุคคลที่อยู่ในระดับอายุต่าง ๆ กัน และผู้ทรงคุณวุฒิรวม 258 คนตอบแบบสอบถามเพื่อเลือกหัวเรื่องที่มีผู้เห็นพ้องต้องกันว่ามีการเปลี่ยนแปลงจริงมาสร้างเป็นแบบสอบถาม 48 เรื่อง 2. ทดลองใช้กับบุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป เป็นจำนวนประมาณ 60 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยเพื่อปรับปรุงแบบสอบถาม
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัย
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับ
ความเชื่อมั่นสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา 0.97
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างคนไทยที่เป็นข้าราชการ ซึ่งมีอายุตั้งแต่ 18-60 ปีบริบูรณ์ และทำงานในสถานที่ราชการทั้งใน กทมและต่างจังหวัด โดยที่ผู้ทำงานใน กทม. ต้องอาศัยอยู่ใน กทม. ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไปเช่นเดียวกับผู้ที่อยู่ต่างจังหวัด ก็ต้องอาศัยอยู่จังหวัดนั้น ๆ ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป
เวลาในการใช้เครื่องมือ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดหมายถึง การที่บุคคลรับรู้หรือเห็นว่ามีการเปลี่ยนแปลงในสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือหลายสิ่งเกิดขึ้นในสังคมและวัฒนธรรมไทยภายในช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมา โดยเปรียบเทียบกับปัจจุบัน โดยถือการปฏิบัติเป็นเกณฑ์ แบบสอบถามฉบับนี้สร้างขึ้นโดยอาศัยเนื้อหาของวัฒนธรรม 4 ประการคือ ด้านคติธรรม เนติธรรม วัตถุธรรมและสหธรรม (เอกสารวัฒนธรรมฉบับที่ 2-2497)ซึ่งใน 4 ประการนี้ ประกอบด้วย 48 หัวเรื่องย่อย
ตัวอย่างเครื่องมือวัดแบบสถานการณ์ทั่วไป1. คนไทยถือกันว่าบิดามารดาเป็นพระของลูก ดังนั้นลูกควรเคารพเอาใจใส่ช่วยเหลือการงานและอยู่ในโอวาท สมัยนี้คนที่ยังคงปฏิบัติเช่นนี้มีมากน้อยเพียงใดเมื่อเทียบกับคนสมัยก่อนก. ไม่น้อยลง ข.น้อยลง ค.ไม่ทราบ ง.ไม่สนใจ
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]